รายละเอียดเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ ม. 6
บทที่ 15 ไฟฟ้าสถิต
15.1 ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า
15.2 ประจุไฟฟ้า
15.3 กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
15.4 การเหนี่ยวนำไฟฟ้า
15.5 แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
15.6 สนามไฟฟ้า
15.7 เส้นแรงไฟฟ้า
15.8 ศักย์ไฟฟ้า
15.8.1 ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ
15.8.2 ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม
15.8.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์และสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ
15.9 ตัวเก็บประจุและความจุ
15.10 การนำความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์
15.10.1 เครื่องถ่ายเอกสาร
15.10.2 เครื่องกำจัดฝุ่นในอากาศ
15.10.3 เครื่องพ่นสี
15.10.4 ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ
การทดลองและกิจกรรม
กิจกรรม 15.1 ชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้าและชนิดของประจุไฟฟ้า
กิจกรรม 15.2 การให้ประจุโดยการเหนี่ยวนำพร้อมกับต่อสายดิน
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 15
»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»
บทที่ 16 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก 1
16.1 กระแสไฟฟ้า
16.1.1 การนำไฟฟ้า
16.1.2 กระแสไฟฟ้าในตัวนำไฟฟ้า
16.2 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
16.2.1 กฎของโอห์มและความต้านทาน
16.2.2 สภาพต้านทานไฟฟ้าและสภาพนำไฟฟ้า
16.2.3 อิทธิพลของอุณหภูมิต่อความต้านทานไฟฟ้า
16.3 พลังงานในวงจรไฟฟ้า
16.3.1 แรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต่างศักย์
16.3.2 พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
16.4 การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่
16.4.1 การต่อตัวต้านทาน
16.4.2 การต่อแบตเตอรี่
16.5 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบื้องต้น
16.6 เครื่องวัดไฟฟ้า
16.6.1 แอมมิเตอร์
16.6.2 โวลต์มิเตอร์
16.6.3 โอห์มมิเตอร์
16.7 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
16.7.1 แม่เหล็ก
ก. สนามแม่เหล็ก
ข. สนามแม่เหล็กโลก
ค. ฟลักซ์แม่เหล็ก
ง. การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก
16.7.2 กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก
ก. สนามแม่เหล็กของลวดตัวนำตรง
ข. สนามแม่เหล็กของโซเลนอยด์
ค. สนามแม่เหล็กของทอรอยด์
16.7.3 แรงกระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ในสนามแม่เหล็ก
16.7.4 แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้าผ่าน
16.7.5 แรงกระทำต่อขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าและอยู่ในสนามแม่เหล็ก
16.8 การประยุกต์ผลของสนามแม่เหล็กต่อตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน
16.8.1 แกลแวนอมิเตอร์
16.8.2 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 16.1 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
การทดลอง 16.2 ความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่
การทดลอง 16.3 กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน
ที่ต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน
การทดลอง 16.4 ตัวแบ่งศักย์
กิจกรรม 16.1 การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก
กิจกรรม 16.2 สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ
กิจกรรม 16.3 แรงที่กระทำต่อลวดตัวนำขณะมีกระแสไฟฟ้าผ่านและลวดอยู่ในสนามแม่เหล็ก
กิจกรรม 16.4 แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้า
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 16
»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»
บทที่ 17 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก 2
17.1 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำและแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
17.2 มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
17.3 หม้อแปลง
17.4 ค่าของปริมาณทีเกี่ยวข้องกับไฟฟ้ากระแสสลับ
17.5 ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
17.6 กำลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
17.7 การคำนวณหาพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
17.8 วงจรไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน และการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
17.8.1 วงจรไฟฟ้าในบ้าน
17.8.2 อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
17.8.3 การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
การทดลองและกิจกรรม
กิจกรรม 17.1 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
กิจกรรม 17.2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
กิจกรรม 17.3 หม้อแปลง
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 17
»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»
บทที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
18.1 ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลและการทดลองของเฮิรตซ์
18.2 การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
18.3 สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
18.3.1 คลื่นวิทยุ
18.3.2 คลื่นโทรทัศน์
18.3.3 คลื่นไมโครเวฟ
18.3.4 รังสีอินฟราเรด
18.3.5 แสง
18.3.6 รังสีอัลตราไวโอเลต
18.3.7 รังสีเอ๊กซ์
18.3.8 รังสีแกมมา
18.4 โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
18.4.1 โพลาไรเซชันของแสง
การทดลองและกิจกรรม
กิจกรรม 18.1 ความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์
กิจกรรม 18.2 การตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 18
»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»
บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.1 อะตอม
19.2 การค้นพบอิเล็กตรอน
19.2.1 การค้นพบอิเล็กตรอนโดยการทดลองของทอมสัน
19.2.2 การหาประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนโดยการทดลองของมิลลิแกน
19.3 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
19.4 การทดลองรัทเทอร์ฟอร์ด
19.5 การทดลองด้านสเปกตรัม
19.5.1 สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส
19.5.2 การแผ่รังสีของวัตถุดำ
19.6 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
19.7 ทฤษฎีอะตอมของโบร์
19.8 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์
19.9 รังสีเอกซ์
19.10 ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์
19.11 ทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
19.11.1 ปรากฎการณ์คอมป์ตัน
19.11.2 สมมติฐานของเดอ บรอยล์
19.12 กลศาสตร์ควอนตัม
19.12.1 หลักความไม่แน่นอน
19.12.2 โครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม
19.13 เลเซอร์
19.14 ตัวนำ กึ่งตัวนำ และฉนวน
การทดลองและกิจกรรม
กิจกรรมสาธิต
กิจกรรม 19.1 การศึกษาเปรียบเทียบการแผ่รังสีของวัตถุดำ
กิจกรรม 19.2 การเปรียบเทียบลักษณะการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา
กิจกรรมทดลอง
กิจกรรม 19.1 การศึกษาสเปกตรัมของแก๊สร้อน
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 19
»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
20.1 การพบกัมมันตภาพรังสี
20.2 การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
20.2.1 องค์ประกอบของนิวเคลียส
20.2.2 การพบนิวตรอน
20.3 การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
20.4 ไอโซโทป
20.5 เสถียรภาพของนิวเคลียส
20.5.1 แรงนิวเคลียร์
20.5.2 พลังงานยึดเหนี่ยว
20.6 ปฏิกิริยานิวเคลียร์
20.6.1 ฟิชชัน
20.6.2 ฟิวชัน
20.7 ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
20.8 กัมมันตภาพรังสีในธรรมชาติ อันตรายจากกัมมันตภาพรังสี และการป้องกัน
20.8.1 กัมมันตภาพรังสีในธรรมชาติ
20.8.2 อันตรายจากกัมมันตภาพรังสี
20.8.3 การป้องกันอันตรายจากกัมมันตภาพรังสี
การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 20.1 การทดลองอุปมาอุปมัย การทอดลูกเต๋ากับการสลายของธาตุ
กัมมันตรังสี
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 20
»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»
บทที่ 21 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ และการใช้งานทางวิทยาศาสตร์
21.1 รู้จักวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ชนิดต่างๆ
21.1.1 ตัวต้านทาน ( Resistor )
21.1.2 ตัวเหนี่ยวนำ ( Inductor )
21.1.3 ตัวเก็บประจุ ( Capacitor )
21.1.4 ไดโอด ( Diode )
21.1.5 เอสซีอาร์ ( SCR )
21.1.6 มอสเฟต ( Mosfet )
21.1.7 ทรานซิสเตอร์ ( Transistor )
21.1.8 ไอซี ( IC )
21.1.9 ตัวต้านทานไวแสง LDR (Light Independent Resistor)
21.1.10 โฟโต้ไดโอด(Photo Diode)
21.1.11 เทอร์มิสเตอร์ (Thermistor)
21.1.12 วาริสเตอร์ (Varistor)
21.1.13 รีดสวิตซ์ (reed switch)
21.1.14 ไมโครโฟนชนิดคอนเดนเซอร์ (Condenser Microphone)
21.1.15 เพียโซอิเล็กทริค (Piezoelectric)
21.2 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ใช้สำหรับเป็นตัวรับรู้
กิจกรรม 21.1 LDR กับความเข้มแสง
กิจกรรม 21.2 การวัดอุณหภูมิด้วยเทอร์มิสเตอร์
กิจกรรม 21.3 สนามแม่เหล็กกับ Reed Switch
กิจกรรม 21.4 การตรวจวัดรังสีอินฟราเรด
21.3 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ใช้สำหรับการวิเคราะห์และตัดสินใจ
กิจกรรมที่ 21.5 วงจรตรรกะแบบ NOT
กิจกรรมที่ 21.6 วงจรตรรกะแบบ AND
กิจกรรมที่ 21.7 วงจรตรรกะแบบ OR
21.4 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ใช้ในการควบคุม
21.4.1 สัญญาณไฟฟ้า
21.4.2 การขยายสัญญาณไฟฟ้า
21.4.3 การควบคุม
21.5 ตัวอย่างการนำความรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้งานทางวิทยาศาสตร์
10 comments. Leave a Reply