ฟิสิกส์ ม.5

รายละเอียดเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ ม. 5

บทที่ 9 ของไหลบทที่ 10 ความร้อนบทที่ 11 คลื่นกล
บทที่ 12 เสียง
บทที่ 13 แสงบทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ์

บทที่ 9 ของไหล

9.1 ความหนาแน่น
9.2 ความดันในของเหลว

9.2.1 ความดันในของเหลวขึ้นอยู่กับความลึก
9.2.2 เครื่องมือวัดความดัน
9.2.3 ความดันกับชีวิตประจำวัน

9.3 กฎของพาสคัลและเครื่องอัดไฮดรอลิก
9.4 แรงลอยตัวและหลักของอาร์คิมีดิส
9.5 ความตึงผิว
9.6 ความหนืด
9.7 พลศาสตร์ของของไหล

9.7.1 ของไหลอุดมคติ
9.7.2 การไหลของของไหลอุดมคติ
9.7.3 สมการความต่อเนื่อง
9.7.4 สมการของแบร์นูลลี
9.7.5 การประยุกต์สมการของแบร์นูลลี

การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 9.1 ความดันในของเหลว
การทดลอง 9.2 แรงลอยตัว
กิจกรรม 9.1 แรงตึงผิวของของเหลว
การทดลอง 9.3 ความตึงผิวของของเหลว
กิจกรรม 9.2 หลักของแบร์นูลลี
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 9

บทที่ 10 ความร้อน

10.1 ความร้อน

10.1.1 อุณหภูมิ
10.1.2 การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
10.1.3 สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสาร
10.1.4 การถ่ายโอนความร้อน
10.1.5 การแผ่รังสีความร้อน

10.2 แก๊สอุดมคติ

10.2.1 กฎของบอยล์
10.2.2 กฎของชาร์ลส์
10.2.3 กฎของแก๊ส

10.3 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

10.3.1 แบบจำลองของแก๊สอุดมคติ
10.3.2 ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส
10.3.3 อัตราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส

10.4 พลังงานภายในของระบบ
10.5 การประยุกต์

10.5.1 เครื่องยนต์แบบต่าง ๆ
10.5.2 ไอน้ำในอากาศและความดันไอ

การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 10.1 กฎของบอยล์
การทดลอง 10.2 กฎของชาร์ลส์
กิจกรรม 10.1 การปรับเทียบเทอร์มอมิเตอร์
กิจกรรม 10.2 หาความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยของอุณหภูมิ
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 10

บทที่ 11 คลื่นกล

11.1 การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกล
11.1.1 การสั่น การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายและคลื่น
11.1.2 ชนิดของคลื่น
11.2 คลื่นผิวน้ำ
11.3 การซ้อนทับของคลื่น
11.4 สมบัติของคลื่น

11.4.1 การสะท้อน
11.4.2 การหักเห
11.4.3 การแทรกสอด
11.4.4 การเลี้ยวเบนของคลื่น

11.5 คลื่นนิ่งและการสั่นพ้อง
การทดลองและกิจกรรม
กิจกรรม 11.1 คลื่นและตัวกลาง
การทดลอง 11.1 สมบัติของคลื่น
ตอนที่ 1 การสะท้อนของคลื่น
ตอนที่ 2 การหักเหของคลื่น
ตอนที่ 3 การแทรกสอดของคลื่น
ตอนที่ 4 การเลี้ยวเบนของคลื่น
กิจกรรม 11.2 คลื่นนิ่งในเส้นเชือก
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 11

บทที่ 12 เสียง

12.1 ธรรมชาติของเสียง
12.2 อัตราเร็วของเสียง
12.3 การเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง
12.4 ความเข้มเสียงและการได้ยิน

12.4.1 ความเข้มเสียง
12.4.2 ระดับความเข้มเสียง
12.4.3 มลภาวะทางเสียง
12.4.4 หูกับการได้ยิน
12.4.5 เวลาก้องเสียง

12.5 เสียงดนตรี

12.5.1 ระดับเสียง
12.5.2 คุณภาพเสียง
12.5.3 ความถี่ธรรมชาติ
12.5.4 การสั่นพ้องของเสียง

12.6 บีตส์และคลื่นนิ่งของเสียง
12.7 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และคลื่นกระแทก
12.8 การประยุกต์ความรู้เรื่องเสียง

12.8.1 ด้านสถาปัตยกรรม
12.8.2 ด้านการประมง
12.8.3 ด้านการแพทย์
12.8.4 ด้านธรณีวิทยา
12.8.5 ด้านวิศวกรรมและอุตสาหกรรม

การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 12.1 เสียงกับการแทรกสอด
การทดลอง 12.2 เสียงกับการเลี้ยวเบน
กิจกรรม 12.1 ความถี่ธรรมชาติ
การทดลอง 12.3 การสั่นพ้องของเสียง
การทดลอง 12.4 การวัดความยาวคลื่นเสียง
การทดลอง 12.5 การเกิดบีตส์ของเสียง
กิจกรรม 12.2 คลื่นนิ่งของเสียง
ความรู้เพิ่มเติม
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 12

บทที่ 13 แสง

13.1 การแทรกสอด
13.2 การเลี้ยวเบนของแสง
13.3 เกรตติง
13.4 การกระเจิงของแสง

13.4.1 ปรากฏการณ์เรือนกระจก

การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 13.1 การแทรกสอดของแสง
การทดลอง 13.2 การเลี้ยวเบนของแสง
การทดลอง 13.3 เกรตติง
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 13

บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ์

14.1 การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของเสียง
14.2 การสะท้อนของแสง

14.2.1 ภาพในกระจกเงาราบ
14.2.2 ภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกผิวโค้งทรงกลม

14.3 การหักเหของแสง

14.3.1 กฎการหักเหของแสง
14.3.2 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ

14.4 เลนส์บาง
14.5 ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง

14.5.1 การกระจายแสง
14.5.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
14.5.3 รุ้ง
14.5.4 มิราจ

14.6 ทัศนอุปกรณ์

14.6.1 เครื่องฉายภาพนิ่ง
14.6.2 กล้องถ่ายรูป
14.6.3 กล้องจุลทรรศน์
14.6.4 กล้องโทรทรรศน์

14.7 ความสว่าง
14.8 การถนอมสายตา

14.8.1 การดูวัตถุที่มีความสว่างมาก
14.8.2 การดูวัตถุที่มีความสว่างน้อย
14.8.3 การดูผ่านทัศนอุปกรณ์

14.9 ตาและการมองเห็นสี
14.10 สี
14.10.1 การผสมสี
14.10.2 การผสมแสงสี
การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 14.1 การหักเหของแสง
การทดลอง 14.2 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูน
การทดลอง 14.3 เครื่องฉายภาพนิ่ง
การทดลอง 14.4 กล้องจุลทรรศน์
การทดลอง 14.5 กล้องโทรทรรศน์
การทดลอง 14.6 สีของวัตถุ
การทดลอง 14.7 การผสมแสงสีบนฉากขาว
โจทย์แบบฝึกหัดบทที่ 14

Comments are closed.